“รุ” สำคัญไหม?
สมุฏฐานการเป็นไข้ หรือ เกิดโรค “หลักโภชนาการ(วิทยาศาสตร์)” 90 % มาจากสมุฏฐานนี้
การ “รุ” หรือ การดีท๊อกซ์ “ล้างสิ่งมีพิษ - ล้างสิ่งเกิดพิษ- ปรับระบบการย่อยฯ”
ระบบการย่อยอาหารแพทย์แผนไทย
ไฟ คือ ไฟ “ย่อยอาหาร(Digestion)” ให้เป็นซากอาหาร เพื่อรอการนำออกจากระบบร่างกาย
“ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system)เกิดจากระบบการย่อยที่ดี 80 %Up”
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) :
ระบบย่อยอาหารมีหน้าที่ย่อยอาหารให้ละเอียด แล้วดูดซึมผ่านเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
อาหารที่สิ่งมีชีวิตบริโภคเข้าไป ไม่ว่าจะเป็นชนิดใดก็ตาม จะนำเข้าสู่เซลล์ได้ก็ต่อเมื่ออยู่ในรูปของ “สารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก” คือ กรดอะมิโน น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว กลีเซอรอล และกรดไขมัน ฯ
อาหาร โมเลกุลใหญ่ที่สิ่งมีชีวิตรับประทานเข้าไป “จำเป็นต้องแปรสภาพให้มีขนาดเล็กลง” การแปรสภาพของอาหารดังกล่าวเกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่อาศัยการทำงานของเอนไซม์ย่อยอาหาร โดยทั่วไปเรียกว่า น้ำย่อย จากนั้นโมเลกุลของสารอาหารจะถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ กระบวนการแปรส
ภาพอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลง เรียกว่า การย่อยอาหาร (Digestion)
ขั้นตอนการย่อยอาหาร:
การย่อยอาหารมี 2 ขั้นตอน
การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) โดยการบดเคี้ยว เป็นกระบวนการทำให้อาหารมีขนาดเล็กลง เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนที่และการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่อไป รวมทั้งการบีบตัวของทางเดินอาหาร “ยังไม่สามารถทำให้อาหารมีขนาดเล็กสุดได้ จึงไม่สามารถดูดซึมเข้าเซลล์ได้”
การย่อยทางเคมี (Chemical digestion) เป็นการย่อยอาหารให้มีขนาดเล็กที่สุด โดยการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง อาหาร กับ น้ำ โดยตรง และจะใช้เอนไซม์หรือน้ำย่อยเข้าเร่งปฏิกิริยา จะได้ “สารโมเลกุลเล็กที่สุดที่สามารถดูดซึมเข้าสู่เซลล์ได้” ซึ่งอาหารที่ต้องมีการย่อย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน “ส่วนเกลือแร่ และวิตามินจะดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้โดยตรง”
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรแร่ธาตุ “เสริมอาหารมายน์เคิล” อย. 50-4-01261-5-0001 ประกอบด้วย สารโมเลกุลเล็ก 1.8 (โดยประมาณ) 10 ยกกำลัง – 9 หรือ ขนาดเส้นผมผ่าแนวขวาง ได้10,000 ส่วน จึงซึมเข้าสู่เซลล์ได้โดยตรง การขนส่งสารอาหารเข้าสู่กระแสเลือด เมื่อสารอาหารถูกดูดซึม ผ่านเข้าเซลล์ก็จะเข้าสู่กระแสเลือด สารอาหารส่วนใหญ่จะเป็นพวกกลูโคส (glucose) กาแล็กโทส (galactose) และฟรักโทส (fructose) กรดอะมิโน (amino acid) วิตามินและเกลือแร่จะถูกลำเลียงไปทางหลอดเลือดฝอย หลอดเลือดดำเล็กและหลอดเลือดดำใหญ่พอร์ทัลเข้าสู่ตับ จากนั้นจึงเข้า สู่หัวใจและถูกลำเลียงไปยังอวัยวะต่างๆ โดยการไหลเวียนของเลือด
เช่น กลูโคส กรดอะมิโน กรดไขมัน กลีเซอรอล ผ่านผนังทางเดินอาหารเข้าสู่กระแสเลือด เพื่อไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย “ลำไส้เล็ก เป็นบริเวณที่ดูดซึมอาหารเกือบทั้งหมด” เพราะเป็นบริเวณที่มีการย่อยอาหารเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ โครงสร้างภายในลำไส้เล็กก็เหมาะแก่การดูดซึม คือ ผนังลำไส้เล็กจะยาวพับไปมา และมีส่วนยื่นของกลุ่มของเซลล์ที่เรียงตัวเป็นแถวเดียวมีลักษณะคล้ายนิ้วมือ เรียกว่า วิลลัส (Villus) เป็นจำนวนมาก ในแต่ละเซลล์ของวิลลัสยังมีส่วนยื่นของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปอีกมากมาย เรียกว่า ไมโครวิลลัส (Microvillus) ในคน มีวิลลัสประมาณ 20-40 อันต่อพื้นที่ 1 ตารางมิลลิเมตรหรือประมาณ 5 ล้านอัน ตลอดผนังลำไส้ทั้งหมด
**เอนโดพลาซึมขรุขระ rough endoplasmic reticulum (RER) เอนโดพลาซึมแบบเรียบ ด้านนอก smooth endoplasmic reticulum (SER) ผิวนอก (ไซโทโซลิก)
ขน Villi หน้าที่ซึมซับสารอาหารสู่เซลล์ “หากถูกเคลือบด้วยเศษอาหาร ที่ร่างกายขับออกไม่ได้ หรือ ได้น้อย”
ส่งผลทำให้
ลำไส้ใหญ่
เป็นอวัยวะที่อยู่ในระบบทางเดินอาหาร ลำไส้ใหญ่ของคนมีความยาวประมาณ 1.5 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 เซนติเมตร แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
“กระบวนการทั้งหมดจะเกิดขึ้นไม่ได้ หากแร่ธาตุในร่างกายบกพร่อง หรือ ขาดตัวใด ตัวหนึ่งไป ทั้งแพทย์/ผู้ชำนาญสุขภาพส่วนใหญ่จะมองข้ามในเรื่องนี้ สำหรับแพทย์แผนไทย ถือเป็นเรื่องสำคัญมาก และอาจเป็นต้นเกิด หรือ สมุฏฐานของการเกิดโรคร้ายแรงที่สำคัญยิ่ง ”
แหล่งที่มาข้อมูล...
อ.ประสิทธิ์ ไชยลังกา